รับทำเข็มเจาะ สวนผึ้ง

รับทำเข็มเจาะ สวนผึ้ง

ความรู้เกี่ยวกับ “ประเภทของเสาเข็ม”

เสาเข็ม เป็นอีกหนึ่งส่วนประกอบที่สำคัญในงานก่อสร้าง ซึ่งเรามักได้ยินชื่อกันอยู่เสมอ และส่วนมากก็ทราบกันดีว่ามันมีความสำคัญในด้านการเสริมความแข็งแรงให้กับอาคาร แต่อย่างไรก็ดี ในการจะใช้งาน เสาเข็ม เราควรทำความเข้าใจรายละเอียดเสียก่อน เพื่อจะได้สามารถ เลือกมาใช้งานได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเรื่องที่ควรทราบอย่างหนึ่งก็คือ “ประเภทของเสาเข็ม” ซึ่งมีหลายครั้งที่พบว่ามีความสับสนอยู่บ้างในความเข้าใจของคนทั่วไป บริษัท สินธุ แอนด์ คิว.พี.เอส. จำกัด เราคือผู้เชี่ยวชาญในงานการ ผลิตเสาเข็ม มาให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้

ช่างเข็มเจาะ
รับเจาะเสาเข็มเจาะ
รับทำเสาเข็มเจาะ
รับทำเข็มเจาะ
เข็มเจาะ
บริษัท เสาเข็มเจาะ
เสาเข็มเจาะ ราคาถูก
บริษัท เจาะเสาเข็ม
รับเจาะ เสาเข็ม
บริษัทรับเจาะเสาเข็ม
เจาะเสาเข็ม
เสาเข็มแบบเจาะ
เสาเข็มเจาะแห้ง
งานเข็มเจาะ
แบบเสาเข็มเจาะ
เข็มตอกเข็มเจาะ
บริษัทเสาเข็มเจาะ
งานเจาะเสาเข็ม
เสาเข็มเจาะ ราคาถูก

ประเภทของเสาเข็ม
ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจกันในคำว่า “ประเภทของเสาเข็ม” ก่อน เพราะนี่เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่พบว่ามีการเกิดความเข้าใจที่สับสนกันบ่อยๆ ระหว่างการแบ่ง “ประเภท” กับ “ชนิด” ซึ่งบางครั้งทำให้การสื่อสารกันผิดพลาดคลาดไปไกล โดยเฉพาะท่านที่เป็นเจ้าของบ้านหรือผู้ว่าจ้าง ที่ไม่ชำนาญด้านงานช่างมากนัก อาจจะสื่อสารทำความเข้าใจกับช่าง หรือ ผู้รับเหมา ผิดไปจากความตั้งใจทำให้เสียเวลา หรือ อาจจะเกิดความผิดพลาดในการทำงานได้เลยทีเดียว (ท่านที่อยากทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องเสาเข็มเพิ่มเติม สามารถอ่านได้จากเรื่อง “เสาเข็มคืออะไร”)
 
ประเภทของเสาเข็ม ในเชิงงานช่าง วิศวกรผู้เชี่ยวชาญได้ให้คำอธิบายว่า ประเภทของเสาเข็ม ที่นิยมใช้งานกันทั่วไป มีอยู่ 3 ประเภท ได้แก่
 
1. เสาเข็มตอก
เสาเข็มประเภทนี้ มีทั้งเสาคอนกรีต เสาเหล็ก และเสาไม้ ส่วนมากจะนิยมใช้เสาเข็มคอนกรีต เนื่องจากแข็งแรงกว่าเสาไม้และราคาถูกกว่าเสาเหล็ก สำหรับเสาคอนกรีตแบ่งย่อยได้ 2 ชนิด ได้แก่ เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforce concrete pile) และเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง (Prestressed concrete pile) เสาคอนกรีตอัดแรงจะเป็น ประเภทของเสาเข็ม ที่นิยมมากที่สุด เพราะผลิตได้ยาวและประหยัด มีพื้นที่หน้าตัดเล็กกว่าทำให้เวลานำไปตอกจะส่งผลกระทบต่ออาคารข้างเคียงน้อยกว่า เสาเข็มตอกมีด้วยกันหลายรูปแบบ ทั้งแบบตัว I แบบสี่เหลี่ยม แบบตัว T และแบบกลม เป็นต้น เสาเข็มตอกสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ราว ๆ 10-80 ตันต่อต้น
 
2. เสาเข็มเจาะ
เสาเข็มเจาะแตกต่างจากเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงในลักษณะของการใช้งาน จะต้องทำในพื้นที่ใช้งานจริงและมีกรรมวิธีในการทำค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน โดยใช้เครื่องมือเจาะ ขุดดินลงไปให้ได้ความลึกของเสาเข็มและขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็มตามที่กำหนด จากนั้นจึงจะใส่เหล็กเสริมและเทคอนกรีตลงไปเพื่อหล่อเป็นเสาเข็ม เสาเข็มเจาะยังสามารถแบ่ง ประเภทของเสาเข็ม ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้ตามขนาดของเสาเข็มและกรรมวิธีที่ใช้ อันได้แก่ เสาเข็มเจาะขนาดเล็ก (เสาเข็มเจาะแบบแห้ง) และ เสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ (เสาเข็มเจาะแบบเปียก)
3. เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง
เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรงหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “เสาเข็มสปัน” (Spun Pile) เป็นเสาเข็มที่ผลิตที่ใช้กรรมวิธีการ ปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูงทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อ โดยวิธีธรรมดา จึงมีความแข็งแกร่งสูง รับน้ำหนักได้มาก เสาเข็มสปันมีลักษณะเป็นเสากลม ตรงกลางกลวง มีโครงลวดเหล็กอัดแรงฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ การตอกเสาชนิดนี้สามารถทำได้หลายแบบ ทั้งวิธีการตอกด้วยปั้นจั่นแบบธรรมดา และวิธีการตอกด้วยระบบเจาะกด
เสาเข็มสปัน มีให้เลือกใช้หลายขนาด ที่พบเห็นกันมากมีตั้งแต่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 – 100 เซนติเมตร มีความหนาของเนื้อคอนกรีตอยู่ในช่วง 6 – 14 เซนติเมตร โดยมีความยาวแต่ละท่อนอยู่ในช่วง 6 – 18 เมตร ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต ซึ่งความยาวนี้สามารถเพิ่มได้โดยการนำเสามาเชื่อมต่อกัน เนื่องจากเสาเข็มสปันมีลักษณะกลวงจึงสามารถลดแรงดันของดินในขณะตอกได้โดยการเจาะนำและลำเลียงดินขึ้นทางรูกลวงของเสา ซึ่งจะช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่ออาคารข้างเคียงได้ เสาชนิดนี้เหมาะสำหรับสะพานหรือใช้เป็นฐานรากของอาคารสูงที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูงเพื่อป้องกันปัญหาเรื่องลมแรงและการเกิดแผ่นดินไหว
 
เสาเข็มเจาะ คือการเจาะลงไปใต้พื้นดินและเทคอนกรีตลงไปในหลุมที่เจาะขึ้นรูปเป็นเสาเข็มรูปเสา เมื่อปูนก่อตัวแห้ง มีหน้าที่แบกรับน้ำหนักเป็นฐานรากของอาคารตึกรามบ้านเรือนต่างๆ
ปกติเสาเข็มที่คนเรามักรู้จักเห็นกันทั่วไปตามโครงการก่อสร้างต่างๆเช่น รถไฟฟ้า ทางด่วน อาคารสูง จะเป็นเสาเข็มตอก ใช้เครื่องจักรตอกลงไปในดิน ซึ่งข้อดีของเสาเข็มตอกก็คือ เสาเข็มตอกจะผลิตสำเร็จรูปมาจากโรงงาน เราสามารถตรวจสอบสภาพได้ แต่ข้อเสียก็คือ อย่างที่เราทราบกัน เวลาตอกลงไปในพื้นดินแต่ละที่ดังสะเทือนไปทั่วเมือง มีความสั่นกระเทือนมาก ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้บริเวณหรือสภาพแวดล้อมที่เป็นชุมชน เสาเข็มจึงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็มเจาะ และเสาเข็มเจาะยังแบ่งออกเป็นเสาเข็มเจาะแบบแห้ง และเสาเข็มเจาะแบบเปียก อีกด้วย
เสาเข็มเจาะ ใช้งานกันมากในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัด เช่นบริเวณที่มีการก่อสร้างอยู่ติดกับอาคารข้างเคียง เพราะข้อดีของเสาเข็มเจาะ คือสร้างความกระทบกระเทือนต่ออาคารใกล้เคียงน้อย แต่ก็มีราคาแพงกว่าเสาเข็มตอกอยู่พอสมควรหลักการของเสาเข็มเจาะนั้นจะใช้วิธีเจาะเอาดินออกมาจนถึงระดับที่ต้องการโดยใช้ปลอกเหล็กป้องกันดินพังแล้วจึงใส่เหล็กเสริมลงไปและเทคอนกรีตจนเต็มหลุมเจาะเสาเข็มเจาะเองก็แบ่งออกได้หลายประเภทตามวิธีการทำงานดังนี้
เสาเข็มเจาะระบบเปียก ระบบนี้จะเหมาะกับงานก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่ใช้เครื่องมือขนาดใหญ่และค่อนข้างซับซ้อน
เสาเข็มเจาะระบบแห้ง นิยมใช้กันทั่วไปในงานก่อสร้าง เช่นบ้านพักอาศัยทั่วไปเพราะเป็นระบบที่ง่ายไม่ต้องใช้เครื่องมือมากเสาเข็มเจาะประเภทนี้มีหน้าตัดเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 60 เซนติเมตรสำหรับอาคารบ้านเรือนโดยทั่วไปนิยมใช้เข็มเจาะเส้นผ่าศูนย์กลาง 35 เซนติเมตรและมีความยาว ประมาณ 20 – 30 เมตร

ช่างเข็มเจาะ
รับเจาะเสาเข็มเจาะ
รับทำเสาเข็มเจาะ
รับทำเข็มเจาะ

ประเภทของเสาเข็มเจาะ
เสาเข็มไม้ หาได้ง่าย มีน้ำหนักเบา ราคาถูก ขนส่งสะดวก รับน้ำหนักได้ไม่มาก ต้องตอกเป็นกลุ่ม ส่งผลให้มีฐานรากขนาดใหญ่ ควรตอกให้ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน เพื่อป้องกันการผุกร่อนจากปลวกและเห็ดรา ปัจจุบันนิยมใช้เสาเข็มไม้สนและยูคาลิปตัสตามท้องตลาดระบุขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นนิ้วและความยาวเป็นเมตร
เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยมากเป็นเสาเข็มที่หล่อในหน่วยงาน ต้องออกแบบเหล็กเสริมตามยาวให้เพียงเพื่อรับโมเมนต์ดัดจากการเคลื่อนย้าย และการตอก ปัจจุบันไม่นิยมมากนักเนื่องจากไม่ประหยัด จึงใช้เข็มคอนกรีตอัดแรงแทน
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง เสาเข็มที่อาศัยเทคนิคการดึงลวดรับแรงดึงแล้วเทคอนกรีตลงในแบบ เมื่อคอนกรีตแข็งจนได้กำลังจึงทำการตัดลวดรับแรงดึง ทำให้เกิดแรงอัดในเสาเข็ม ช่วยลดปัญหาการแตกร้าวของเสาเข็ม เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรงหรือที่เรียกกันทั่วไปว่าเสาเข็ม สปันเป็นเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง ที่ผลิตที่ใช้กรรมวิธีการปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง
เสาเข็มคอนกรีตหล่อ “เสาเข็มเจาะ”เป็นเสาเข็มที่มุ่งเน้นให้เกิดผลกระทบต่ออาคารข้างเคียงจากการสั่นสะเทือนน้อย สามารถทำความลึกได้มากกว่าเสาเข็มตอกและสามารถควบคุมตำแหน่งได้ดีกว่า
เสาเข็มเหล็ก เสาเข็มที่ทำจากเหล็กทั้งท่อน ความสามารถรับน้ำหนักได้สูง กว่าเสาเข็มคอนกรีตและไม้ แต่มีราคาแพงและเกิดการผุกร่อนได้ง่ายจากสนิม นิยมใช้กับงานโครงสร้างชั่วคราวที่ต้องรับน้ำหนักมาก แต่ต้องทำการรื้อถอนในภายหลัง
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงเป็นเสาเข็มที่ใช้กันแพร่หลายสำหรับอาคารพานิชย์และบ้านพักอาศัยทั่วไป เป็นเสาคอนกรีตที่ทำจากปูนซีเมนต์ชนิดแข็งตัวเร็วและโครงเหล็กภายในทำจากลวดเหล็กอัดแรงกำลังสูง กรรมวิธีที่ใช้ในการลงเสาเข็มจะเป็นการตอกกระแทกลงไปในดินโดยใช้ปั้นจั่นซึ่งเป็นกรรมวิธีที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อนและประหยัดค่าใช้จ่าย
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงสามารถแบ่งแยกย่อยออกไปได้อีกตามรูปร่างลักษณะของเสาเข็ม ที่ใช้กัน แพร่หลาย ได้แก่
 1.1 เสาเข็มรูปตัวไอ
 1.2 เสาเข็มสี่เหลี่ยมตัน
 1.3. เสาเข็มหกเหลี่ยมหรือแปดเหลี่ยมชนิดกลวง
 1.4 เสาเข็มรูปตัวที
 
ชนิดเสาเข็มที่ใช้สำหรับรับน้ำหนักของตัวบ้านโดยทั่วไปจะเป็นเสาเข็ม รูปตัวไอ ส่วนขนาดและ ความยาวนั้นขึ้นอยู่กับวิศวกรผู้ออกแบบเป็นผู้กำหนด ส่วนเสาเข็มหกเหลี่ยมหรือแปดเหลี่ยมชนิดกลวง หรือเสาเข็มรูปตัวทีนั้นมักจะใช้กับงานโครงสร้างที่เล็กกว่าหรือการรับน้ำหนักน้อยกว่า เช่น งานฐานราก ของรั้ว
เสาเข็มเจาะเป็นเสาเข็มอีกประเภทหนึ่งซึ่งแตกต่างจากเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงในลักษณะของการใช้ งาน กรรมวิธีในการทำเสาเข็มเจาะค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน และจะต้องทำ ณ สถานที่ที่จะใช้งานจริงเลย โดยใช้เครื่องมือเจาะขุดดินลงไปให้ได้ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางและความลึกของเสาเข็มตามที่กำหนดจาก นั้นจึงจะใส่เหล็กเสริมและเทคอนกรีตลงไปเพื่อหล่อเป็นเสาเข็ม
 เสาเข็มเจาะสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆตามขนาดของเสาเข็มและกรรมวิธีที่ใช้ อันได้แก่
 
2.1 เสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ( small diameter bored pile )
 เป็นเสาเข็มเจาะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในช่วง 35-60 เซนติเมตร ( ส่วนใหญ่จะเป็น ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 35, 40, 50, 60 เซนติเมตร ) มีความลึกอยู่ในช่วงประมาณ 18-23 เมตร กรรมวิธีที่ใช้ในการเจาะมักจะเป็นแบบแห้ง ( dry process ) ซึ่งเป็นการขุดเจาะโดยใช้เครื่องมือขุดเจาะ ลงไปตามธรรมดา
 
2.2 เสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ ( large diameter bored pile )
 เป็นเสาเข็มเจาะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 60 เซนติเมตรขึ้นไป ( ส่วนใหญ่จะมี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80, 100, 120, 150 เซนติเมตร ) มีความลึกอยู่ในช่วงประมาณ 25-65 เมตร กรรมวิธีที่ในการเจาะมักจะเป็นระบบเปียก ( wet process ) ซึ่งแตกต่างจากระบบแห้ง คือจะต้องเพิ่ม ขั้นตอนในการฉีดสารเคมีเหลวซึ่งเรียกว่า Bentonite slurry ลงไปในหลุมที่ทำการขุดเจาะ โดยเฉพาะ หลุมที่มีความลึกมากๆถึงชั้นทรายหรือหลุมที่มีน้ำใต้ดิน ทั้งนี้ เพื่อสร้างแรงดันในหลุมที่เจาะและยึดประ สานผิวดินในหลุมเพื่อป้องกันมิให้ผนังหลุมที่เจาะพังทลายลงมา
 
การใช้เสาเข็มเจาะจะไม่ก่อให้เกิดแรงสั่นสะเทือนอันอาจเป็นอันตรายต่ออาคารข้างเคียง เพราะไม่มี การตอกกระแทกของปั้นจั่นดังเช่นที่ใช้กับเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง อีกทั้งขนาดของเสาเข็มเจาะก็อาจทำให้มีขนาดใหญ่โดยมีขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 200 เซนติเมตร เพราะไม่มีปัญหาเกี่ยวกับข้อจำกัดของขนาดของปั้นจั่นและน้ำหนักของตัวเสาเข็ม ขณะที่เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงนั้นขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่ใช้กันทั่ว ไปมีขนาดความกว้างของพื้นที่หน้าตัดเพียง 40 เซนติเมตรเท่านั้น อีกทั้งความลึกของเสาเข็มเจาะก็สามมารถเจาะได้ลึกกว่าความยาวของเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง ฉะนั้นเสาเข็มเจาะจึงเหมาะอย่างยิ่ง
 
สำหรับอาคารสูงซึ่ง ต้องรับน้ำหนักมากและอาคารที่สร้างใกล้ชิดเพื่อป้องกันมิให้เกิดการสั่นสะเทือนซึ่งจะเป็นอันตรายต่ออาคาร ข้างเคียง ในทางปฏิบัติแล้วขั้นตอนในการทำเสาเข็มเจาะจะมีรายละเอียดที่ยุ่งยากซับซ้อนกว่าที่กล่าวไว้มาก ที่กล่าวมาข้างต้นก็เพียงต้องการให้มองเห็นภาพและขั้นตอนของการทำเสาเข็มเจาะเพียงคร่าว ๆ เท่านั้น การปลูกบ้านพักอาศัยโดยทั่วไปมักจะใช้เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงเพราะมีขั้นตอนที่ง่ายกว่าและราคาถูกกว่า เสาเข็มเจาะ

3. เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง
 เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรงหรือที่เรียกกันทั่วไปว่าเสาเข็มสปัน เป็นเสาเข็มที่ผลิตที่ใช้กรรมวิธีการ ปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูงทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อ โดยวิธีธรรมดา จึงมีความแข็งแกร่งสูง รับน้ำหนักได้มาก เสาเข็มสปันมีลักษณะเป็นเสากลม ตรงกลางกลวง มีโครงลวดเหล็กอัดแรงฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ การตอกเสาชนิดนี้สามารถทำได้หลายแบบ ทั้งวิธีการตอกด้วยปั้นจั่นแบบธรรมดา และวิธีการตอกด้วยระบบเจาะกด
 
เสาเข็มสปันมีให้เลือกใช้หลายขนาด ที่พบเห็นกันมากมีตั้งแต่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-100 เซนติเมตร มีความหนาของเนื้อคอนกรีตอยู่ในช่วง 6-14 เซนติเมตร โดยมีความยาวอยู่ในช่วง 6-18 เมตร ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต ซึ่งความยาวนี้สามารถเพิ่มได้โดยการนำเสามาเชื่อมต่อกัน เนื่องจากเสาเข็มสปันมีลักษณะกลวงจึงช่วยลดการสั่นสะเทือนเวลาตอก และถ้าเสาเข็มที่ใช้ความ ยาวมากก็สามารถลดแรงดันของดินในขณะตอกได้โดยการเจาะนำและลำเลียงดินขึ้นทางรูกลวงของเสา ซึ่ง จะช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่ออาคารข้างเคียงได้มาก เสาชนิดนี้เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคารสูงที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูงเพื่อป้องกันปัญหาเรื่องลมแรงและการเกิดแผ่นดินไหว
ร่มเกล้าคอนกรีตอัดแรง ผลิตและจำหน่าย เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงตามขนาด เสาเข็มรูปตัวไอ  เสาเข็มสี่เหลี่ยม เสาเข็มเจาะ ผู้ผลิตเสาเข็มคอนกรีต ขนาดตามสั่ง มีบริการด้านการขนส่ง บริการ รับเจาะเสาเข็ม ตอกเสาเข็ม ด้วยปั่นจั่น ระบบแห้งแบบ 3 ขา โดยช่างที่มีความชำนาญงาน

ช่างเข็มเจาะสวนผึ้ง
ช่างเข็มเจาะตะนาวศรี
ช่างเข็มเจาะท่าเคย
ช่างเข็มเจาะป่าหวาย
ช่างเข็มเจาะสวนผึ้ง

STD Serve ช่างเข็มเจาะ ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด

รับเสาเข็มเจาะ ซ่อมแซม ออกเสาเข็มเจาะ ทุกรูปแบบ เสาเข็มเจาะ ให้ปลอดภัยโดยทีมช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำ เสาเข็มเจาะ ให้ปลอดภัย  เสาเข็มโดยทั่วไปแยกสำคัญ 2 ประเภทกว้างๆ คือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็มเจาะ  รับเสาเข็มเจาะ ดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ในราคาถูกที่เป็นกันเอง

รู้จักเรา STD Serve ช่างเข็มเจาะ

– ทีมช่างมีประสบการณ์ตรงด้านงานช่างเข็มเจาะ มากกว่า 20 ปี
– เดินทางวัดหน้างานฟรีทั่วจังหวัด เพื่อให้ลูกค้าได้รับ งานที่ตรงความต้องการก่อนตัดสินใจ
– รับซ่อมแซมงานช่างเข็มเจาะ ทุกรูปแบบ
– ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทาน
– ราคาถูก รับประกันคุณภาพ พร้อมการบริการหลังการขาย
– บริการคุณภาพด้วย STD House ช่างเข็มเจาะ
กดโทรเลย